วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

1.3.1. ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล(Information Processing Theory)


ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)

                http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์  โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง  ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า  การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์   หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้  คือ  การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น  จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน  สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย  หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ  ได้เป็นเวลานาน  สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding)  เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว  วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น  การท่องจำซ้ำๆ  การทบทวน  หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด
http://sites.google.com/site/bookeclair/hk ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ เกี่ยวกับการทำงานของสมองการทำงานของสมองมีความคล้ายคลึงกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ คลอสเมียร์ (Klausmeier,1985:108) ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง ซึ่งมีการทำงานเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ
1.การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
2.การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
3.การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์

     http://www.oknation.net/blog/print.php?id=132965 ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีประมวลสารหรือทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลผลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมองโดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง ซึ่งมีการทำงานเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ
1.      การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
2.      การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
3.      การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์

                 http://sites.google.com/site/bookeclair/hk ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า การประมวลผลข้อมูลโดยเริ่มต้นจากการที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจำระยะสั้น ซึ่งการบันทึกนี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การรู้จัก(Recognition) และความสนใจ (Atention) ของบุคคลที่รับสิ่งเร้า บุคคลจะเลือกรับสิ่งเร้าที่ตนรู้จักหรือมีความสนใจ สิ่งเร้านั้นจะได้รับการบันทึกลงในความจำระยะสั้น (Short-Term Memory) ซึ่งดำรงคงอยู่ในระยะเวลาที่จำกัดมาก แต่ละบุคคลมีความสามารถในการจำระยะสั้นที่จำกัด ในการทำงานที่จะเป็นต้องเก็บข้อมูลไว้ใช้ชั่วคราว อาจจำเป็นต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการจำช่วย เช่น การจัดกลุ่มคำ หรือการท่องซ้ำ ๆ ซึ่งจะสามารถช่วยให้จดจำไว้ใช้งานได้
http://dontong52.blogspot.comได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า  ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฎีนี้เริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน คลอสเมียร์ ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สพป. อุตรดิตถ์ เขต2 [ทฤษฎีการเรียนรู้]http://www.neric-club.com ได้รวบรวมไว้ว่าทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล(Information Processing Theory) เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้ เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ ได้เป็นเวลานาน สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding) เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การท่องจำซ้ำๆ การทบทวน หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด

ณัชชากัญญ์  วิรัตนชัยวรรณ ( http://www.learners.in.th)  ได้รวบรวมไว้ว่าทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล(Information Processing Theory) เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์  โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง  ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า  การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์  

บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52  (http://dontong52.blogspot.com/) ได้รวบรวมไว้ว่าทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลความรู้ (information Processing Theory)เป็นทฤษฎีที่สนใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฎีนี้เริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน คลอสเมียร์ ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์ กับการทำงานของสมองของมนุษย์ การรู้คิด หรือ เมอทคอคนิชัน (matacognition) ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล งาน และกลวิธี
(http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7  ) เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ ได้เป็นเวลานาน สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding) เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การท่องจำซ้ำๆ การทบทวน หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด
(http://sites.google.com/site/bookeclair/hk )การทำงานของสมองมีความคล้ายคลึงกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์คลอสเมียร์ (Klausmeier,1985:108) ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์กับการทำงานของสมอง ซึ่งมีการทำงานเป็นขั้นตอนดังนี้ คือ
                1.การรับข้อมูล (Input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
                2.การเข้ารหัส (Encoding) โดยอาศัยชุดคำสั่งหรือซอฟต์แวร์ (Software)
                3.การส่งข้อมูลออก (Output) โดยผ่านทางอุปกรณ์
ทิศนา แขมมณี (2550:105)   กล่าวไว้ว่า 
            ผู้รวบรวม Klausmeier คลอสเมียร์ อธิบายไว้ว่า กระบวนการประมวลข้อมูลจะเริ่มต้นจากการที่มนุษย์
รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจำระยะสั้น ซึ่งบันทึก
นี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการคือ การรู้จัก และความเอาใจใส่ ของบุคคลที่รับสิ่งเร้าที่ตนรู้จักหรือมีความสนใจสิ่งเร้านั้นจะได้รับการ บันทึกลงในความจำระยะสั้น (short-termmemory) ความจำจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมที่แสดงออกมา

วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล (http://www.pochanukul.com/?p=154) กล่าวไว้ว่า
1.การทำงานของสมองมนุษย์ มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีการทำงาน
3 ขั้นตอนคือ การรับข้อมูล (input) การเข้ารหัส (encoding) และการส่งข้อมูลออก (output)
2.มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
3.สิ่งเร้าที่เข้ามาจะถูกบันทึกในความจำระยะสั้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการคือการรู้จัก(recognition) และ ความใส่ใจ(attention)
4.บุคคลจะเลือกสิ่งเร้าที่ตนรู้จักและมีความสนใจ แล้วบันทึกลงในความจำระยะสั้น (Short-term memory) ซึ่งบุคคลส่วนใหญ่จะจำได้เพียงครั้งละ 7 (+2, -2) อย่างเท่านั้น และต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อช่วยให้เกิดการจำ เช่น การจัดกลุ่มคำ การท่องซ้ำ ๆ
5.ข้อมูลจะได้รับการประมวลและเปลี่ยนรูปโดยการเข้ารหัส (encoding) เพื่อนำไปเก็บไว้ในความจำระยะยาว (long-term memory) ซึ่ง อาจต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ เข้ามาช่วย เช่น การท้องซ้ำ ๆ การทำให้ข้อมูลมีความหมายกับตนเอง การสร้างความสัมพันธ์สิ่งที่เรียนรู้ใหม่กับความรู้เดิม
6.ความจำระยะยาวมี 2 ชนิดคือ ความจำที่เกี่ยวกับภาษา (semantic) และความจำที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ (episodic) หรืออาจแบ่งได้เป็น ความจำประเภทกลไกที่เคลื่อนไหว (motoric memory) และ ความจำประเภทอารมณ์ ความรู้สึก (affective memory)
7.การเรียกข้อมูลออกมาใช้ บุคคลจำเป็นต้องถอดรหัสข้อมูล (decoding) จากความจำระยะยาว และส่งต่อไปสู่ตัวก่อพฤติกรรมตอบสนอง

 ปริวัตร  เขื่อนแก้ว (http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm) กล่าวไว้ว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง  ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า  การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์   หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้  คือ  การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น  จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน  สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย  หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ  ได้เป็นเวลานาน  สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding)  เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว  วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น  การท่องจำซ้ำๆ  การทบทวน  หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด
เทอดชัย  บัวผาย  http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7 กล่าวว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ ได้เป็นเวลานาน สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส (encoding) เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การท่องจำซ้ำๆ การทบทวน หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 http://dontong52.blogspot.com/  กล่าวว่า ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฎีนี้เริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน

คลอสเมียร์ (Klausmeier,1985:105) ได้อธิบายการประมวลผลข้อมูลโดยเริ่มต้นจากการที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจำระยะสั้น ซึ่งการบันทึกนี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การรู้จัก(Recognition) และความสนใจ (Atention) ของบุคคลที่รับสิ่งเร้า บุคคลจะเลือกรับสิ่งเร้าที่ตนรู้จักหรือมีความสนใจ สิ่งเร้านั้นจะได้รับการบันทึกลงในความจำระยะสั้น (Short-Term Memory)ซึ่ง ดำรงคงอยู่ในระยะเวลาที่จำกัดมาก แต่ละบุคคลมีความสามารถในการจำระยะสั้นที่จำกัด ในการทำงานที่จะเป็นต้องเก็บข้อมูลไว้ใช้ชั่วคราว อาจจำเป็นต้องใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการจำช่วย เช่น การจัดกลุ่มคำ หรือการท่องซ้ำ ๆ ซึ่งจะสามารถช่วยให้จดจำไว้ใช้งานได้
       Eggen and Kuachak (1997:260) กล่าวไว้ว่า กระบานการทางสมองในการประมวลข้อมูลเรียบเทียบได้กับคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมสั่งงาน การบริหารควบคุมการประมวลของสมองก้คือการที่บุคคลรู้ถึงการคิดของตนและสามารถควบคุมได้ลักษณะนี้เรียกว่า การรู้คิด องค์ประกอบสำคัญของการรู้คิดที่ใช้ในการควบคุมกระบวนการประมวลข้อมูลประกอบด้วยแรงจูงใจ ความตั้งใจ และความมุ่งหวังต่างๆ
        Garofalo and Lester (1985:163-176) กล่าวไว้ว่า การตระหนักรู้จะนำไปสู่การคิดหากลวิธีต่างๆที่จะมาช่วยให้ตนจดจำในสิ่งที่เรียนได้ดี เช่น การท่องจำ การจดบันทึก และการใช้เทคนิคคช่วยจำอื่นๆ เช่นการจำตัวย่อ การทำรหัส การเชื่อมโยงในสิ่งที่สัมพันธ์กัน ความรู้ในเชิงเมตาคอคนิชันมักจะประกอบไปด้วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล งาน และกลวิธี

www.kroobannok.com/39841  กล่าว ถึง การปฏิวัติการเรียนการสอนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้ดำเนิน โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ซึงมีศาสตราจารย์กิตติคุณสุมน  อมรวิวัฒน์เป็นที่ปรึกษาโดยแบ่งเป็น 5 โครงการย่อยซึ่งสอดคล้อง สุมน อมรวิวัฒน์ (2541 : 5) ได้กล่าวถึงแนวคิดใหม่ของการเรียนรู้ ซึ่งเป็นแนวคิดพื้นฐานของกระบวนการเรียนการสอนว่า แก่นแท้ของการเรียนการสอน คือ การเรียนรู้ของผู้เรียนการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกแห่งทุกเวลาต่อเนื่องยาว นานตลอดชีวิต ศรัทธาเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดของการเรียนรู้ผู้เรียน ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีจากการสัมผัสและสัมพันธ์สาระที่สมดุลเกิดขึ้นจากการ เรียนรู้ คือ ความรู้ ความคิด ความสามารถและความดีข้อความข้างต้นคือ ที่มาของทฤษฎีการเรียนรู้ 5 ทฤษฎี ที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้จัดทำขึ้นโดยเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทฤษฎีมาจัดสาระและกระบวนการ เพื่อนำเสนอแก่ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้สอน ทฤษฎีการเรียนรู้
     http://corino.multiply.com/journal/item/1  ได้รวบรวมไว้ว่า  ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล(Information Processing Theory) เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ ได้เป็นเวลานาน สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding)เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การท่องจำซ้ำๆ การทบทวน หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด

ศน.หลักสูตรและการสอน ( http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7 ) รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีบทนี้ว่า  แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ ความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง บางประเภทมีความซับซ้อนมาก จำเป็นต้องใช้ความสามารถในขั้นสูง หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบซึ่งเริ่มจากง่ายไปหายากมีทั้งหมด 9 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ(Gaining attention)
ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์(Informing the learning)
ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น(Stimulating recall of prerequisite learned capabilities)
ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่(Presenting the stimulus)
ขั้นที่ 5 ให้แนวทางการเรียนรู้(Providing learning guidance)
ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ(Eliciting the performance)
ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ(Feedback)
ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์(Assessing the performance)
ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้(Enhancing retention and transfer) "
(http://e-book.ram.edu/e-book/s/SE742/chapter3.pdf )ได้รวบรวมและกล่าวถึง
ทฤษฏีนี้ว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ ด้านการทางานของสมองโดยมีแนวคิดว่าการทางานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีทฤษฏีการเรียนรู้ และการประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ Klausmeier กล่าวว่าสมองของมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้เหมือนการทางานของคอมพิวเตอร์ โดยมีขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอนดังนี้
1. การรับข้อมูล (input) โดยผ่านทางอุปกรณ์หรือเครื่องรับข้อมูล
กระบวนการประมวลข้อมูลเริ่มต้นจากการที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 สิ่งเร้าที่เข้ามาจะได้รับการบันทึกไว้ในความจาระยะสั้น ซึ่งการบันทึกนี้จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 2 ประการ คือ การรู้จัก (recognition) และ ความใส่ใจ (attention) ของบุคคลที่รับสิ่งเร้า สิ่งเร้านั้นจะได้รับการบันทึกลงในความจาระยะสั้น (short – term memory) ซึ่งจะอยู่ในระยะเวลาที่จากัด ในการทางานที่จาเป็น ต้องเก็บข้อมูลไว้ใช้ชั่วคราว อาจจาเป็นต้องใช้เทคนิคต่างๆในการช่วยจา เช่น การจัดกลุ่มคาหรือการท่องซ้ำๆซึ่งจะช่วยให้จาได้
2. การเข้ารหัส (encoding) ทาได้โดยอาศัยชุดคาสั่ง หรือซอฟแวร์ (software)
การเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ทาได้โดยข้อมูลนั้นต้องได้รับการประมวล และเปลี่ยนรูปโดยการเข้ารหัส เพื่อนาไปเก็บไว้ในความจาระยะยาว (long – term memory) ซึ่งอาจต้องใช้เทคนิคต่างๆเข้าช่วย เช่น การทาข้อมูลให้มีความหมายกับตนเอง โดยการสัมพันธ์สิ่งที่เรียนรู้ใหม่กับสิ่งเก่าที่เคยเรียนรู้มาก่อน ซึ่งเรียกว่าเป็นกระบวนการขยายความคิด (elaborative operations process)
ความจาระยะยาวมี 2 ชนิด คือ ความจาที่เกี่ยวกับภาษา (semantic) และความจาที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ (episodic)
ความจาระยะยาวมี 2 ประเภท คือ ความจาประเภทกลไกที่เคลื่อนไหว (motoric memory) หรือ ความจาประเภทอารมณ์ ความรู้สึก (affective memory)
3. การส่งข้อมูลออก (output) ทาได้โดยผ่านทางอุปกรณ์
เมื่อข้อมูลได้รับการบันทึกไว้ ในความจาระยะยาวแล้วบุคคลจะสามารถเรียกข้อมูลต่างๆออกมาใช้ได้ การเรียกข้อมูลออกมาใช้ บุคคลต้องถอดรหัสข้อมูล (decoding) จากความจาระยะยาวนั้น และส่งผลต่อไปสู่ตัวก่อกำเนิดพฤติกรรมตอบสนอง ซึ่งจะเป็นแรงขับหรือกระตุ้นให้บุคคลมีการเคลื่อนไหวหรือการพูด สนองตอบต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ

สรุป
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง คือทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่าการทำงานของสมองของมนุษย์ก็เปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์ เมื่อมนุษย์ได้รับข้อมูลจากสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5 และสมองก็จะประมวลผลของข้อมูลแล้วแสดงออกมาทางพฤติกรรม คำพูด เป็นต้น  ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูลทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้  คือ การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนหันมาใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน สอนให้ฝึกการจำโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย  หากต้องการให้ผู้เรียนจดจำเนื้อหาสาระใดๆ  ได้เป็นเวลานาน  สาระนั้นจะต้องได้รับการเข้ารหัส(encoding)  เพื่อนำไปเข้าหน่วยความจำระยะยาว  วิธีการเข้ารหัสสามารถทำได้หลายวิธี  เช่น  การท่องจำซ้ำๆ  การทบทวน  หรือการใช้กระบวนการขยายความคิด


อ้างอิง
ทิศนา  แขมมณี (2553) .ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ
http://www.wijai48.com/learning stye/learningprocess.htm (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555   http://sites.google.com/site/bookeclair/hk (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486. เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2555
http://dontong52.blogspot.com. เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2555
http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7. เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2555
วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล (http://www.pochanukul.com/?p=154)      เข้าถึงเมื่อ 20 กรกฎาคม  2555  
(http://e-book.ram.edu/e-book/s/SE742/chapter3.pdf)      เข้าถึงเมื่อ 20 กรกฎาคม  2555
http://www.learners.in.th      เข้าถึงเมื่อวันที่ 5เดือนสิงหาคม  . . 2555
http://www.niteslink.net       เข้าถึงเมื่อวันที่ 5เดือนสิงหาคม  . . 2555
ปริวัตร  เขื่อนแก้ว  http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm เข้าถึงเมื่อวันที่  22  กรกฎาคม 2555
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ.: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงเมื่อวันที่  22  กรกฎาคม 2555
http://sites.google.com/site/bookeclair/hk. ,(ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 กรกฎาคม 2555
วุทธิศักดิ์ โภชนุกูล (http://www.pochanukul.com/?p=154) (ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อวันที่ 10กรกฎาคม 2555
ที่มาhttp://jankhuk.exteen.com/20090619/entryเข้าถึงเมื่อวันที่ 7กรกฎาคม 2554
ที่มา www.คืออะไร.comเข้าถึงเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2554






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น